หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน
โรคไตเสื่อม ไตเรื้อรัง หรือไตวายเป็นโรคที่ไตทำงานน้อยลงทำให้ไม่สามารถขับของเสียและน้ำส่วนเกิดออกไปทางปัสสาวะ หากไม่แก้ไข ไตก็จะเสื่อมมากขึ้น เมื่อไตเสื่อมถึงระดับหนึ่งจะมีการคั่งของของเสียและน้ำทำให้เกิดอาการของโรคไตวายเรื้อรัง ไตเสื่อมในระยะเริ่มแรกจะไม่มีอาการเตือน เมื่อไตเสื่อมถึงระดับหนึ่งจึงเกิดอาการขึ้นมา เป้าหมายของการรักษาไตเสื่อมมุ่งเน้นที่ชลอการเสื่อมของไต โดยการรักษาโรคที่เป็นสาเหตุ ควบคุมอาหาร การปรับพฤติกรรมมาได้
สาเหตุของไตเสื่อม | อาการโรคไตเสื่อม | การวินิจฉัยไตเสื่อม | การแบ่งความรุนแรงของไตเสื่อม | การรักษาไตเสื่อม | การป้องกันไตเสื่อม | โรคแทรกซ้อนของไตเสื่อม
สำหรับผู้ที่มีโรคดังต่อไปนี้จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเสื่อม ส่วนใหญ่เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ภาวะดังกล่าวได้แก่
ปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มโอกาศเป็นโรคไตเสื่อมได้แก่
หากท่านมีโรคที่เป็นสาเหตุของโรคไตเสื่อม หรือมีดรคที่เพิ่มความเสี่ยงท่านจะต้องรักษาโรคนั้นเป็นอย่างดี และหลีกเลี่ยงสมุนไพร หรืออย่าซื้อยารับประทานเอง หรือการรับประทานยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs
ในระยะเริ่มแรกของโรคไตคนอาจไม่พบอาการใด ๆ เมื่อไตเสื่อมถึงระดับหนึ่งจะเกิดอาการ
ความรุนแรงของโรคไตเสื่อมหรือไตวายแบ่งออกเป็น 5 ระยะตามการเสื่อมของไตได้แก่
การแบ่งระดับความรุนแรงของโรคไตเสื่อม
เราจะประเมินจากผลการตรวจโปรตีนในปัสสาวะและอัตรากรองของไต
ตารางแสดงความสัมพันธ์ของ uACR และภาวะไตเสื่อมกับการดำเนินของโรคไต
<30 mg/g | 30-300mg/g | >300 mg/g | |
ไตเรื้อรังระยะ1 | |||
ไตเรื้อรังระยะ2 | |||
ไตเรื้อรังระยะ3a | |||
ไตเรื้อรังระยะ3b | |||
ไตเรื้อรังระยะ4 | |||
ไตเรื้อรังระยะ5 |
สีจะแสดงความเสี่ยงของการเกิดโรคไต
การรักษาไตเสื่อมจะต้องดูแลปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่น สุรา น้ำหนัก สูบบุหรี่ การรับประทานอาหารเค็ม การออกกำบังกาย การควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การตรวจปัสสาวะประจำปี การรับประทานยากลุ่ม NSAID
การป้องกันไตเสื่อมต้องเน้นการป้องกันและการรักษาโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เพราะสองโรคเป็นสาเหตุของโรคไตเสื่อมที่สำคัญ นอกจากนั้นต้องลดอาหารเค็มด้วย
โรคแทรกซ้อนของไตเสื่อมจะเกิดเมื่อไตเสื่อมรดับหนึ่งดรคแทรกซ้อนที่พบได้แก่
ทบทวนวันที่
โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว