jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

กลุ่มที่เสี่ยงต่อวัณโรค

การติดเชื้อ การติดต่อ วัณโรคดื้อยา  การวินิจฉัย  การรักษา  การป้องกัน

ผู้ที่ได้รับเชื้อ [Latent infection] ทุกคนไม่จำเป็นต้องเป็นวัณโรคทุกคน ประมาณว่าร้อยละ 10จะเป็นวัณโรคโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเหล่านี้


เมื่อร่างกายอ่อนแอเชื่อที่อยู่ในปอดจะเจริญและแพร่กระจายเข้ากระแสเลือดและต่อมน้ำเหลืองไปตามอวัยวะต่างๆ เช่น ผิวหนัง ไต กระดูก และอวัยวะสืบพันธ์ ผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคจะมีอาการ ไข้ น้ำหนักลด เบื่ออาหาร ไอเรื้อรัง บางรายไอจนเสมหะมีเลือดปน หากเป็นมากขึ้นจะมีการทำลายเนื้อปอดทำให้หอบเหนื่อย

ความสำคัญของวัณโรค การติดต่อ ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ การวินิจฉัยโรค การทดสอบผิวหนัง วัณโรคนอกปอด วัณโรคดื้อยา ยาและการจัดการกับวัณโรค การรักษาวัณโรค การให้ยาแบบ DOT การรักษาวัณโรคในภาวะพิเศษ วัณโรคในเด็ก เอดส์และวัณโรคการป้องกันวัณโรค การฉีดวัคซีน BCG วัณโรค



 

ทบทวนวันที่

โดย นายแพทย์ ประพันธ์ ปลื้มภาณุภัทร อายุรแพทย์,แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

Google
 

เพิ่มเพื่อน