jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การวินิจฉัยโรคหอบหืด

แพทย์จะวินิจฉัยโดยอาศัยประวัติการตรวจร่างกายและการตรวจสมรรถภาพปอด

เมื่อไรจึงจะสงสัยว่าเป็นโรคหอบหืด

หากคุณมีอาการดังต่อไปนี้ควรไปพบแพทย์เพื่อการตรวจ Spirometry เพื่อการวินิจฉัยว่าเป็นหอบหืดหรือไม่

อาการหอบหืดจะเกิดหรือเป็นมากขึ้นในภาวะดังต่อไปนี้

การตรวจวินิจฉัยโรคหอบหืด 

แพทย์จะซักประวัติและตรวจร่างกายซึ่งจะแตกต่างในแต่ละราย อาจจะตรวจไม่พบอะไรในขณะที่ปลอดอาการ ในขณะที่เกิดอาการหอบหืดจะตรวจได้ยินเสียงหวีด แพทย์จะซักประวัติต่างดังนี้

ภาวะอื่นๆที่พบร่วมกับโรคหอบหืด

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ ได้แก่ การวัดการอุดกั้นของทางเดินหายใจด้วยเครื่อง spirometry เช่นการวัด FEV1 [force expiratory volume in one minute] หรือวัดเครื่อง peak flow meter เพื่อวัด PEF [peak expiratory flow]  แพทย์อาจวัดค่าผันผวนของ PEFที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงวัน เช่น เช้า กลางวัน เย็น ในระยะเวลา1-2 สัปดาห์ ถ้ามีความผันผวนของค่าสูงสุดและต่ำสุดมากกว่าร้อยละ20 ถือว่าเป็นหอบหืด

Spirometry

                           ค่าผันผวน=(PEFสูงสุด-PEFต่ำ)*100)หารด้วย(PEFสูงสุด-PEFต่ำ)/2

FEV1 คือการวัดความเร็วของลมที่เป่าออกมาอย่างแรงที่เวลา 1 วินาที นับตั้งแต่เริ่มเป่า

การวินิจฉัยโรคหอบหืด การตรวจสมรรถภาพปอด การตรวจ Peak flow rate

ต้องรู้เกี่ยวกับโรคหอบหืด | ต้องรู้จักวิธีพ่นยา | ต้องรู้จักชนิดของยาที่รักษา | ต้องมีแผนการรักษาด้วยตัวเอง | ต้องมีแผนฉุกเฉินในการรักเวลาหอบมาก | ต้องหลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่แพ้ | ต้องรู้จักประเมินอาการของโรค | ต้องมีแผนเรื้อรัง

เพิ่มเพื่อน

 






โรคหอบหืด

การวินิจัยโรคหอบหืด

ความรุนแรงโรคหอบหืด

ยารักษาโรคหอบหืด

แผนการรักษาโรคหอบหืดเรื้อรัง

แผนการรักษาหอบหืดเฉียบพลัน

เตรียมตัวก่อนพบแพทย์

อาการที่ต้องพบแพทย์ทันที

ผู้ที่ควรอยู่โรงพยาบาล

โรคหอบในภาวะพิเศษ