jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุน

หมายถึงภาวะที่ทำให้เนื้อกระดูกลดลงเร็วกว่าปกติ บางคนมีหลายปัจจัยเสี่ยง แต่บางคนก้ไม่มีปัจจัยเสี่ยง

  1. ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลง
  1. ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถแก้ไขได้

การประเมินความเสี่ยงว่าจะเป็นดรคกระดูกพรุนหรือไม่

การประเมินความเสี่ยง คะแนน
สุขภาพเป็นเช่นใด 0

1

ผิวดำ -1
ประวัติแม่ หรือน้องสาวกระดูกสะโพกหัก 1
น้ำหนักลดเมื่อเทียบกับตอนอายุ 25 ปี 1
สูงกว่า 165 ซม 1
เป็นโรคสมองเสื่อม 1
ได้รับยา steroid 1
ได้รับยากันชัก 1
ได้รับยากลุ่ม benzodiazepamเช่น valium 1
ไม่ได้ออกกำลังกาย 1
ต้องใช้แขนช่วยเวลาลุกจากเก้าอี้ 1
มีกระดูกหักเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี 1
อายุมากกว่า80ปี 1
วัยทองและไม่ได้รับฮอร์โมนทดแทน 1
ยืนน้อยกว่าวันละ 4 ชั่วโมง 1
หัวใจเต้นเกิน 80 ครั้งเวลานั่งเฉยๆ 1
รวมคะแนน  

คะแนน 0-2   ความเสี่ยงต่อกระดูกพรุนต่ำ

คะแนน 3-4  ความเสี่ยงต่อกระดูกพรุนปานกลาง

คะแนนมากกว่า 5 ความเสี่ยงต่อกระดูกพรุนสูง

 

 

หากท่านพบว่าท่านมีความเสี่ยงของการเกิดกระดูกพรนสูงโปรดปรึกษาแพทย์และปฏิบัติตามวิธีป้องกันโรคกระดูกพรุน


กระดูกพรุน