jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

ไวรัสตับอักเสบ ซี Hepatitis C

ท่านผู้อ่านคงคุ้นเคยกับไวรัสตับอักเสบ บี แต่ถ้าท่านติดตามโรคตับอักเสบท่านจะพบว่าไวรัสตับอักเสบ ซีเพิ่มขึ้นเนื่องจากพบได้บ่อยมากขึ้น พบได้ประมาณ 1-2% ของคนที่มาบริจาคเลือด หลังเป็นตับอักเสบแล้วก็มีแนวโน้มจะเป็นตับอักเสบเรื้อรัง  20% ของผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังชนิด ซี จะเป็นตับแข็งภายใน 10-20 ปี บางส่วนกลายเป็นมะเร็งตับ

ปัจจัยเสี่ยงและการติดต่อไวรัสตับอักเสบ ซี

ไวรัสตับอักเสบ ซี ติดต่อทางเลือด การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน แต่มีผู้ป่วยบางท่านได้รับเชื้อโดยไม่ทราบแหล่งที่มาปัจจัยเสี่ยงได้แก่

กิจกรรมต่อไปนี้ไม่ทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี

 

อาการของผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี

ผู้ที่เป็นตับอักเสบ ซี เรื้ออาจจะไม่มีอาการ หรือมีอาการแต่ไม่มาก อาการที่พบได้คือ

สำหรับผู้ป่วยที่เป็นเรื้อรังและกลายเป็นตับแข็งจะมีอาการ

การเจาะเลือดตรวจ

การวินิจฉัยไวรัสตับอักเสบ ซี

เป้าหมายการรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี(Goal of treatment)

เป้าหมายหลักในการรักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี คือ การกำจัดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี เพื่อป้องกันการดำเนินโรคของตับไปสู่ภาวะตับแข็ง และลดการเกิดมะเร็งตับ โดยตัวที่ช่วยประเมินความสำเร็จในการรักษาคือ

นอกจากนี้เป้าหมายอื่น คือเพื่อลดการแพร่เชื้อไปสู่บุคคลอื่น

การรักษาไวรัสตับอักเสบ ซี

ผู้ป่วยไวรัสตับอัเสบ ซีรายใดที่ควรได้รับการรักษา

ผู้ป่วยไวรัสตับอัเสบ ซีรายใดที่ไม่ควรได้รับการรักษา

ข้อห้ามในการให้ยา interferon

ผู้ป่วยซึมเศร้า ติดยา ติดสุรา autoimmune disease โรคไขกระดูก ไม่สามารถคุมกำเนิด

ผลข้างเคียงของยา interferon interferon pegylated interferon alfa 2a และ 2b

การแก้ไขและป้องกันผลข้างเคียงของ interferon

ผลข้างเคียงของ ribavirin

ยา ribavirin มีผลทำให้เกิดเม็ดเลือดแดงแตก hemolysis และถ้าได้ในขนาดสูงและระยะเวลานานจะมี hemolysis เพิ่มขึ้น ในผู้ป่วยที่ได้รับ pegylated interferon alfa 2a + ribavirin มีระดับ Hemoglobin ลดลงโดยเฉลี่ย 3.5 gm/dl ผลข้างเคียงอื่น เช่น ก่อให้เกิดมะเร็งในทารก teratogenic effect, คลื่นไส้อาเจียน, คันตามตัว, นอนไม่หลับ, ไอ, หอบเหนื่อย นอกจากนี้ ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด severe cardiovascular disease, thalassemia, renal failure, และคุมกำเนิดไม่ดี

การแก้ไขและป้องกันผลข้างเคียงของ ribavirin

วิธีป้องกันตับไวรัสอักเสบ ซี

การปฏิบัติตัวและการป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี
ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรค และยังไม่มีการรักษาที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อหลังการสัมผัสโรค (postexposure prophylaxis) ดังนั้นมาตรการที่ควบคุม และป้องกันการแพร่หระจายเชื้อ จึงมีความสำคัญ เช่น วิธีการฉีดยาที่ถูกต้อง รวมถึงการทำความสะอาดฆ่าเชื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ดีพอ

นอกจากนี้บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี ก็ได้รับการตรวจเลือด anti HCV

ใครควรได้รับการเจาะเลือดตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี

ผู้ติดเชื้อตับอักเสบซีควรได้รับการแนะนำการป้องกันแพร่เชื้อ เช่น

หากท่านมีเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี แพทย์จะวางแผนการรักษาอย่างไร

ผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี บางรายเมื่อตรวจเลือดจะพบว่าค่า SGOT,SGPT ปกติแพทย์จะนัดตรวจเลือดอีกครั้ง 6-12 เดือน

คนท้องสมควรตรวจหาไวรัสตับอักเสบ ซีหรือไม่

ไม่ควรเนื่องจากคนท้องไม่ได้มีแัตราการติดเชื้อมากกว่าคนทั่วไป นอกจากว่าคนนั้นจะมีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าว

เด็กที่เกิดจากแม่ที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี สมควรเจาะเลือดหาเชื้อหรือไม่

ไม่ควรเจาะก่อนอายุ 12 เดือนเนื่องจากเชื้อจากแม่ยังไม่หมด

ผู้ป่วยที่มีไวรัสตับอักเสบ ซี จะป้องกันการอักเสบของตับอย่างไร