jrprint

หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

adv

การรักษาโรคฉี่หนู

 

ผู้ป่วยโรคฉี่หนูหรือเลปโตสไปโรซิสส่วนใหญ่มีการพยากรณ์โรคดีถ้าได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว และการรักษาที่เหมาะสม ผู้ป่วยที่เสียชีวิตมักเกิดจากไม่ได้รับการวินิจฉัย และการรักษาที่ทันท่วงทีทำให้มีการดำเนินโรคต่อไป เป็นผู้ป่วยที่มีอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงซึ่งบางครั้งไม่สามารถให้การรักษาได้ในปัจจุบัน เช่น ไอเป็นเลือดที่รุนแรง การหายใจล้มเหลว หรือไตวาย เป็นต้น

จาการทบทวนข้อมูลอาการทางคลินิกดังกล่าว แล้วร่วมกับประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงของแพทย์ในถิ่นระบาดพอสรุปเป็นเกณฑ์ในเบื้อต้นว่า เมื่อให้การวินิจฉัยว่า เป็นผู้ป่วยที่สงสัยทางคลีนิคว่าเป็นเปลโตสไปโรซิส และยังไม่พบภาวะแทรกซ้อน ประวัติและการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติต่อไปนี้ตั้งแต่แรกรับ อาจใช้ในการพยากรณ์โรคเบื้องต้น

ผู้ป่วยที่มีประวัติหรือการตรวจพบข้อใดข้อหนึ่งดังกล่าวควรรับไว้ในรักษาในโรงพยาบาล หรือส่งต่อไปยังโรงพยาบาลจังหวัด หรือโรงพยาบาลศูนย์เพื่อเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและให้การดูแลรักษาตามอาการของภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้

ผู้ที่มีอาการรุนแรง

ผู้ที่มีอาการปานกลางอาจจะเลือกยาดังนี้

การรักษาตามอาการและภาวะแทรกซ้อน

ในรายที่มีอาการไข้เฉียบพลันโดยไม่มีภาวะแทรกว้อนหรือการตรวจพบดังกล่าวข้างต้น ได้แก่ การให้ยาลดไข้ เป็นต้น ส่วนในรายที่มีอาการรุนแรงหรือมีการตรวจพบอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งบ่งชี้ว่าอาจมีการดำเนินโรคที่รุนแรงต่อไปได้ ควรรับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้มีเฝ้าระวังอาการอย่างใกล้ชิด เช่น

การรักษาโรคแทรกซ้อน

การรักษาจำเพาะ

ผู้ป่วยซึ่งอาการไม่รุนแรงอาจหายได้เองโดยไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ

ส่วนในรายที่มีอาการรุนแรง การรักษาด้วยยา

รายที่อาการไม่รุนแรง

Prognostic factors associated with mortality

จากการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่ออัตราตายยังมีน้อยมาก มีอัตราตายร้อยละ 18 พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราตาย ได้แก่

โรคฉี่หนู | อาการโรคฉี่หนู | การวินิจฉัยโรคฉี่หนู | การรักษาโรคฉี่หนู